วันเสาร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
บทความ
คนกับสัตว์
ไม่มีสัตว์ชนิดใดฉลาดกว่าคน
แต่แปลกไหมที่หมาไม่กลัวผี
ไม่มีสัตว์ชนิดใดที่มีความรู้มากกว่าคน
แต่แปลกหนอที่นกไม่เคยบ้า
สัตว์ทั้งหลายไม่กลัวในสิ่งที่มองไม่เห็น
และไม่กลัวในสิ่งที่มิได้เผชิญอยู่เฉพาะหน้า
แปลกแต่จริง คนเรากลับกลัวสิ่งที่ยังไม่เคยเกิดขึ้น
และกลัวมากขึ้นต่อสิ่งที่ตัวเองก็ไม่เคยประสบ
สัตว์ทั้งหลายต่างก็รักชีวิต
แต่มันไม่กลัวตาย
แปลกนักที่คนมักกลัวความตาย
แต่ไม่รักชีวิต
เช่นนี้คนทั้งหลายเอาสิ่งใดกัน
มาดูถูกสรรพสัตว์ว่าโง่เขลา ต่ำต้อย
Categories : พรหมจริยวัตร
Tags : กลัว, ความรู้, ฉลาด, ชีวิต, ต่ำต้อย, บ้า, สรรพสัตว์, สัตว์, สิ่งที่มองไม่เห็น, โง่เขลา
ที่มา: http://happyhappiness.monkiezgrove.com/
วันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
สรุป แนวทางของการออกแบบองค์ประกอบทางทัศนะ และการออกแบบและพัฒนาเลิร์นนิ่ง อ๊อบเจ็ค
สารสนเทศที่นำเสนอ เช่น ข้อความ ภาพนิ่ง วีดิทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว ต่างๆเหล่านี้นับได้ว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้เกิดการปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน ซึ่งแนวทางในการออกแบบ ได้แก่
1. ควรนำเสนอสาระที่พอควรในแต่ละหน้าจอ ถ้าใส่แน่นเกินไปจะทำให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง
2. กรณีที่ต้องนำเสนอเนื้อหาจำนวนมาก ควรเสนอเนื้อหานั้นเป็นกลุ่มย่อยๆและเป็นช่วงๆ
3. กรณีใช้กรอบวินโดวส์ในการนำเสนอ เพื่อวัตถุประสงค์ ได้แก่
3.1 ดึงความสนใจของผู้เรียน
3.2 ลดความแน่นของหน้าจอ
3.3 สร้างรูปแบบการนำเสนอ
4. ใช้ปุ่มที่เข้าใจง่ายและดึงความสนใจของผู้เรียน
5. นำเสนอด้วยรูปภาพ ไดอะแกรม และโฟล์ชาร์ต เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเห็นภาพรวม เข้าใจง่ายและจดจำได้
6. เทคนิคที่ช่วยนิเทศก์ผู้เรียน
6.1 วางเนื้อหาและองค์ประกอบต่างๆให้คงที่
6.2 วางผังหน้าจอให้สม่ำเสมอ
6.3 กำหนดรูปแบบของทัศนะบนหน้าจอให้คงที่
6.4 ใช้สีและรูปร่างเป็นตัวชี้แนะ
6.5 ใช้ป้ายหรือสัญลักษณ์บอกตำแหน่ง
6.6 ให้มีมุมมองแบบนกมอง คือ มองได้ทั้งระยะใกล้และไกล
7. เทคนิคในการกำหนดตำแหน่งสาระบนหน้าจอ
7.1 วางสาระสำคัญในตำแหน่งที่สำคัญ
7.2 แสดงสาระที่เปลี่ยนแปลงไประหว่างหน้าจอต่อหน้าจอ
7.3 วางสาระที่แสดงอยุ่ปัจจุบันไว้ในตำแหน่งคงที่
8. เมื่อต้องการแสดงสาระสำคัญที่ต้องการดึงดูดหรือนำสายตาผู้เรียน ให้ใช้เทคนิคต่างๆ
9. เทคนิคที่ช่วยในการชี้แนะสาระ
10. เทคนิคเกี่ยวกับสี
การออกแบบและพัฒนาเลิร์นนิ่ง อ๊อบเจ็ค (LO)
ต้องอาศัยทีมงานในการทำงานอย่างน้อย ได้แก่
1) ผู้ชำนาญด้านเนื้อหา
2) นักออกแบบการเรียนการสอน
3) นักออกแบบกราฟิก
4) ผู้เขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1. ขั้นตอนการพัฒนาเนื้อหา
1.1 กำหนดวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้
1.2 กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้
1.3 วิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อกำหนดความเหมาะสมของกิจกรรม
1.4 เขียนสตอรี่บอร์ด เป็นการกำหนดสิ่งที่จะปรากฎบนหน้าจอ
1.5 เขียนโฟล์วชาร์ต ซึ่งช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างหน้าจอแต่ละหน้า
2. การผลิต ทีมงานจะทำงานตามสตอรี่บอร์ดและแผน ที่ได้วางไว้
2.1 ทีมงานผลิตทำการศึกษาโฟล์วชาร์ตและสตอรี่บอร์ดโดยละเอียด
2.2 ทีมงานผลิตให้คำแนะนำแก่นักออกแบบหรือหัวหน้าผู้พัฒนาคอร์สเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหา
2.3 กรณีที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ ทีมงานผลิตอาจแยกความรับผิดชอบงานออกเป็นชิ้นย่อยๆ จึงลงมือสร้าง และนำมารวบรวม
วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553
ความแตกต่างของ CMS LMS และ LCMS
2. LMS เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ
3. LCMS ระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้
ตัวอย่างของ CMS LMS และ LCMS
ที่มา http://www.insitejapan.com/
ที่มา http://edtech.pn.psu.ac.th/lms/

ความหมายของ CMS LMS และ LCMS

ที่มา http://www.hellomyweb.com/tutorials.php?id_main=1&id_submain=2&id_submain2=0&id_content=121

2.LMS เป็นคำที่ย่อมาจาก Learning Management System หรือระบบการจัดการเรียนรู้ เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ จะประกอบด้วยเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ดูแลระบบ โดยที่ผู้สอนนำเนื้อหาและสื่อการสอนขึ้นเว็บไซต์รายวิชาตามที่ได้ขอให้ระบบ จัดไว้ให้ได้โดยสะดวก ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหา กิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยผ่านเว็บ ผู้สอนและผู้เรียนติดต่อ สื่อสารได้ผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ เช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ห้องสนทนา กระดานถาม - ตอบ เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วยังมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ การเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรียนของผู้เรียนไว้บนระบบเพื่อผู้สอนสามารถนำไปวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลการเรียนการสอนในรายวิชานั้นอย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา http://www.tsu.ac.th/cc/wbl_training/lms.htm
3.LCMS (Learning Content Management System )
คือระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ พัฒนามาจากระบบการเรียนรู้ 2 ระบบ คือ
1) ระบบการจัดการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ซึ่งมีความสามารถในการนำเนื้อหาการเรียนรู้มารวมกันเป็นกลุ่ม ๆ เรียกว่า Course แล้วนำเข้าสู่ระบบ
2) ระบบบริหารจัดการเนื้อหา (Content Management System: CMS)
ที่มา http://nongna005.multiply.com/journal/item/16
วันศุกร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
ชื่อเล่น โน้ต
เกิดเมื่อ 3 สิงหาคม 2533
สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ
ศึกษาอยู่ คณะศึกษาศาสตร์
สาขาวิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (ศษ/ท52c)
e-mail note_np_pn@hotmail.com
โทร 08-7036-6136